4
month
4
Module
Outing
&
Field Trip
หลักสูตร “Young SME” เกิดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่างสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย กับ บริษัท มีเดียรีพับพลิค จำกัด เพื่อสร้างเบ้าหลอมองค์ความรู้และเป็นตัวกลางในการสร้างเครือข่ายของนักธุรกิจรุ่นใหม่ เชื่อมโยงและสานต่อแนวทางทางธุรกิจจากยุคเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ (Gen-X) และเจนเนอเรชั่นวาย (Gen-Y) สู่ยุคเจนเนอเรชั่นแซด (Gen-Z) รวมทั้งสร้างการเตรียมพร้อมให้กับคนยุคเจนเนอเรชั่นถัดไป เพราะโลกก้าวเข้าสู่ยุคที่เทคโนโลยีเอื้อต่อการทำงานแทนมนุษย์ ธุรกิจและองค์กรจำเป็นต้องปรับแนวทางการดำเนินธุรกิจ และส่งมอบอำนาจการบริหารจัดการจากคนยุคก่อนสู่คนยุคใหม่ (ทายาทธุรกิจ) ปัจจุบันนี้คนรุ่นใหม่เริ่มมีแนวคิดที่จะเป็นผู้ประกอบการ (entrepreneur) มากกว่าการเป็นลูกจ้างในองค์กร และต้องการสร้างธุรกิจของตนเองโดยการผสมผสานแนวคิดการก่อเกิดธุรกิจแบบ start up เข้ากับแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจแบบ SME แต่ทั้งการเข้ารับช่วงการบริหารธุรกิจของคนรุ่นใหม่ หรือคนที่อยากเป็นผู้ประกอบการล้วนจำเป็นต้องมีองค์ประกอบความรู้เพียงพอ มีการเพิ่มพูนประสบการณ์ มีความสามารถในการเชื่อมโยงธุรกิจจากแนวทางเดิมสู่แนวทางใหม่สู่การเปลี่ยนผ่านที่ราบรื่นสามารถประสานเชื่อมโยงธุรกิจของตนเองเข้ากับธุรกิจของผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพรักษาและสร้างการเติบโตของธุรกิจให้ทันสมัย นอกจากนี้การทำงานในภาคธุรกิจยังถูกยอมรับมาโดยตลอดในทุกยุคทุกสมัยว่าการมีเครือข่าย (network) เป็นสิ่งสำคัญที่เป็นเหมือนอาวุธลับและทางลัด ทั้งต่อการก่อกำเนิด การสานต่อ การขยาย และการเติบโตของธุรกิจ ไปจนถึงการประสบความสำเร็จ
ทำไมต้อง
Soft Power
Episode
รัฐบาลในปัจจุบันกำหนดนโยบาย “ยุทธศาสตร์ซอฟพาวเวอร์แห่งชาติ” ขึ้นมาโดยมีเป้าประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าและบริการของไทยอันจะนำมาซึ่งการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยกำหนดกรอบการทำงานและการส่งเสริมในอุตสาหกรรมหลายประเภท ที่หลายแนวทางสามารถเชื่อมโยงกับผู้ประการรายใหม่ (entrepreneur) ผู้กำลังริเริ่มธุรกิจ (start up) ผู้ประกอบขนาดกลางและย่อม (SME) รวมถึงผู้ประกอบการธุรกิจรายเดิมที่กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนถ่ายธุรกิจจากรุ่นสู่รุ่น
หลักสูตร “Young SME” จึงกำหนดกรอบองค์ความรู้ให้แก่ผู้เข้ารับการอบรมในรุ่นที่ 1 ด้วยการผสมผสานแนวการดำเนินธุรกิจในรูปแบบและในยุคต่าง ๆ เข้ากับแนวทางตามยุทธศาสตร์เพื่อสร้างให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เป็นบุคคลที่รู้จัก เข้าใจ และสามารถกำหนดรูปแบบการผสมผสานแนวคิด “ซอฟพาวเวอร์” เข้ากับธุรกิจของตนเองได้ รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจ (inspirations) ในการก่อกำหนดสินค้าหรือบริการที่สอดคล้องกับแนวนโยบาย “ยุทธศาสตร์ซอฟพาวเวอร์แห่งชาติ” ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
สิ่งที่ผู้เข้ารับรับการอบรมจะได้รับ
Academic
ความรู้จากการบรรยาย
และเสวนาจากวิทยากร
ระดับแนวหน้าของประเทศ
Success Case
ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง และ ถ่ายทอดจากวิทยากรผู้มีความสำเร็จในหลากหลายสาขาอาชีพ
Networking
การสร้างเครือข่ายธุรกิจและมิตรภาพของผู้บริหารเพื่อขยายธุรกิจที่หลากหลายยิ่งขึ้น
Social skill
เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
การดื่มไวน์ การเล่นกอล์ฟ
และ กิจกรรมเสริมสร้าง
บุคลิกภาพ
Site Visit
เปิดมุมมองในอีกแง่มุมจากการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ
Business Etiquette
พัฒนารอบด้านทั้งบุคลิกภาพและความคิดแบบผู้นำรุ่นใหม่
Recreation Activity
กิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้าง
สัมพันธภาพระหว่าง
ผู้เข้าอบรม
ที่ปรึกษา คณะกรรมการและทีมบริหารหลักสูตร
คณะที่ปรึกษาหลักสูตรฯ
คณะกรรมการหลักสูตรฯ
นาย
แสงชัย
ธีรกุลวาณิช
ประธาน
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
อุดมธิปก
ไพรเกษตร
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
รศ.ดร.
สุรีย์
กาญจนวงศ์
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
ญดา
ถาวร
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ศ.ดร.พล.ต.ต.
ชัชนันท์
ลีระเติมพงษ์
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
พญ.
จมธนา
ศิริไพบูลย์
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
พลภฤต
เรืองจรัส
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
กฤษกร
สุขเวชชวรกิต
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
ปวีณมัย
บ่ายคล้อย
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
นส.
พัสราวลี
อาริยะธนาพร
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
นาย
กิตตศักดิ์
โพแก้ว
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
จีรพงษ์
สังข์ภาพันธ์
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ดร.
พัชนี
แซ่พุ้น
คณะกรรมการ
หลักสูตรฯ
ระยะเวลาฝึกอบรม
24 พ.ค. - 16 ส.ค. 67 (เรียนเฉพาะวันศุกร์)
13.00 - 18.00 น.
Course schedule
24
พฤษภาคม 2567
13.00 - 13.30
พีธีเปิด
13.30-15.00
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี2567 และยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์ ของประเทศไทย
31
พฤษภาคม 2567
13.15 - 14.00
กรณีศึกษาซอฟต์พาวเวอร์ ในระดับนานาชาติ
14.00-15.30
Data Analytic & Social Media Marketing
16.00-17.30
การจัดการเครือข่าย
07
มิถุนายน 2567
13.15 - 15.30
กลยุทธ์การตลาดดิจิทัลสำหรับ SMEs
16.00 - 17.30
ทะยาน: คิดแบบ startup ทำอย่าง SME มีระบบแบบมหาชน
14
มิถุนายน 2567
13.15-14.00
ซอฟต์พาวเวอร์ (ภาพยนตร์และวีดิทัศน์)
14.00-15.30
การปรับเปลี่ยนด้านความคิดและ โมเดลธุรกิจ
16.00-17.30
ความเป็นผู้นำในยุคสมัยใหม่
มิถุนายน 2567
13.15 - 14.00
ซอฟต์พาวเวอร์ (การออกแบบแฟชั่นไทย)
14.00 - 15.30
การจัดการทางการเงินสำหรับ ผู้ประกอบการ
16.00 - 17.30
พฤติกรรมผู้บริโภคและสื่อดิจิทัล: ข้อมูลเชิงลึกและการวิเคราะห์
21
มิถุนายน 2567
10.00 - 12.00
แต่ง (หน้า) ยังไง เหมือนไม่แต่ง
13.00 - 15.00
บุคลิกภาพของผู้บริหารรุ่นเยาว
15.30 - 17.30
Story Telling
28
12
กรกฎาคม 2567
13.15 - 14.00
ซอฟต์พาวเวอร์ (ด้านอาหาร)
14.00 - 15.30
การสร้างเจ้าของธุรกิจ ที่ประสบความสำเร็จ
16.00 - 17.30
การสร้างแบรนด์
19
กรกฎาคม 2567
13.15 - 14.00
ความท้าทายของธุรกิจครอบครัว : แผนงานสู่องค์กร
14.00 - 15.30
เทคโนโลยี IOT สำหรับ SMEs
16.00 - 17.30
เทคโนโลยี AI สำหรับ SMEs
02
สิงหาคม 2567
13.15 - 14.00
ซอฟต์พาวเวอร์ (เทศกาลประเพณีไทย)
14.00 - 15.30
สตาร์ทอัพกับอำนาจของซอฟต์แวร์ ในการเปลี่ยนโลก
16.00 - 17.30
การประยุกต์ใช้ซอฟต์พาวเวอร์ ในธุรกิจ Startups: ค้นหาชิ้นส่วน ที่หายไปและร่วมกันสร้าง ความสำเร็จให้กับประเทศ
09
สิงหาคม 2567
13.15 - 14.00
การสร้างเอกลักษณ์ของ แบรนด์ส่วนบุคคล
14.00 - 15.30
แบรนด์ท้องถิ่น สู่แบรนด์ระดับโลก
16.00 - 17.30
ผู้จัดงาน แบรนด์ระดับโลก
16
สิงหาคม 2567
13.15 - 14.00
วิธีการสื่อสาร แบบ 360 องศา
14.00 - 15.30
Soft power ในยุคดิจิทัล - นำมาใช้ ประโยชน์ทางธุรกิจได้อย่างไร
16.00 - 17.30
สิ่งสำคัญของการสื่อสาร ในยุคดิจิทัล
หมายเหตุ: ทางหลักสูตรขอสงวนสิทธิ์การเปลี่ยนแปลงหัวข้อการอบรม ตารางการอบรม และวิทยากร อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ในกรณีเกิดสถานการณ์อันเป็นเหตุให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ โดยทางหลักสูตรจะทำการปรับหัวข้อ วันเวลาอบรมและวิทยากรตามความเหมาะสม
สถานที่ฝึกอบรม
โรงแรม HILTON Bangkok Grande Asoke
โรงแรม S31 Sukhumvit
PROFESSIONAL SPEAKERS
คุณแสงชัย ธีรกุลวาณิช
ประธานสมาคม
สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย
คุณซีเค เจิง
ประธานกรรมการบริหาร
Fastwork
คุณชุติมา วิริยะมหากุล
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
บริษัท ฮาคูโฮโด เฟิร์ส จำกัด
คุณวินิจ เลิศรัตนชัย
ผู้จัดงานการแข่งขันฟุตบอล THE MATCH BANGKOK CENTURY CUP 2022
คุณชนาธิป สรงกระสินธ์
นักฟุตบอล ระดับโลก
คุณสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ
ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำกระทรวงศึกษาธิการ และโฆษกกระทรวงศึกษาธิการ
คุณณัฐวุฒิ พึงเจริญพงศ์
ประธานกรรมการบริหาร
และผู้ก่อตั้ง Ookbee
ผศ.ดร.ยุทธนา ศรีสวัสดิ์
นายกสมาคม Thai Startup
คุณสมชาย ชีวสุทธานนท์
ผู้เชี่ยวชาญการจัดงานระดับโลก ผู้อยู่เบื้องหลังการประกวด Miss Universe Thailand
คุณวรวุธ ศรีมะฆะ
อดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอน ฟุตบอลทีมชาติไทย
ดร.เกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร
กรรมการผู้จัดการ
กลุ่มอำพลฟู้ดส์
คุณไผท ผดุงถิ่น
ประธานกรรมการบริหาร
Builk One Group
ดร.ประเวทย์ ตันติสัจจธรรม
นายกสมาคม ไทยบล็อกเชน
ดร.ประวีณมัย บ่ายคล้อย
อาจารย์คณะศิลปกรรมการผลิตสื่อ สถาบัน กันตนา และ ผู้ประกาศข่าว
คุณธรรศพลฐ์ แบเลเว็ลด์
ประธานกรรมการบริหาร
บริษัท ไทยแอร์ เอเชีย จำกัด
ผศ. ดร.ธีรศานต์ สหัสสพาศน์
ประธานกรรมการบริหาร
SOdA PrintinG
คุณนิติ เมฆหมอก
นายกสมาคม ไทยไอโอที
ดร.แจ่มใส เมนะเศวต
ผู้อำนวยการกองงานบริหารองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงต่างประเทศ
คุณกฤษน์ ศรีชวาลา
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฟิโก้ กรุ๊ป
คุณกล้า ตั้งสุวรรณ
ประธานกรรมการบริหาร
Wisesight (Thailand)
คุณโชติศักดิ์ อาสภวิริยะ
อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน
คุณกวี ชูกิจเกษม
ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการลงทุน
คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
วุฒิการศึกษา
ปริญญาตรี
หรือสูงกว่า
อายุไม่เกิน 45 ปี
ณ วันที่สมัคร
ผู้ก่อตั้งธุรกิจ, ทายาท
หรือผู้มีประสบการณ์การทํางานในตําแหน่งระดับสูงขององค์กรเอกชนและภาครัฐ
วิธีการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม
-
คัดเลือกจากคุณสมบัติตามใบสมัคร
-
คัดเลือกจากการสัมภาษณ์
การประเมิน
-
การประเมินผลงานวิชาการ
โดยการมีส่วนร่วมในกิจกรรมวิชาการ เช่น เสวนาวิชาการ รายงานกรณีศึกษา และรายงานการศึกษาดูงาน เป็นต้น
-
การประเมินการมีส่วนร่วมของผู้เข้ารับการอบรมฯ
โดยพิจารณา จากการเข้ารับการฝึกอบรมแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของระยะเวลาการเข้ารับการฝึกอบรมฯ
เกณฑ์การมอบวุฒิบัตรสำหรับผู้ผ่านการฝึกอบรม
-
ต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของระยะเวลาการเข้ารับการฝึกอบรมฯ